การศึกษา
- อ.ด. (ภาษาไทย สายวรรณคดี), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559
- อ.บ. (ภาษาไทย) เกียรตินิยมอันดับ 1, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
ความเชี่ยวชาญ
การอ่านตีความและการอ่านเชิงวิจารณ์, ภาษาและวรรณกรรมเขมรถิ่นไทย, ภาษาและวรรณกรรมไทย, ภาษาและวรรณกรรมเขมร, ทฤษฎีอัตลักษณ์และการผสมผสานทางวัฒนธรรม
วารสารระดับชาติ
ดิเรก หงษ์ทอง. 2559. “เพลงกันตรึมเกี่ยวกับประเพณีแซนโฎนตาและอัตลักษณ์ของผู้พูดภาษาเขมรถิ่นไทยในอีสานตอนใต้ของไทย.” วารสารอักษรศาสตร์. 45, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม): 59-103.
ดิเรก หงษ์ทอง. 2558. “พงศาวดารเขมรใน ‘นิพานวังน่า’: ความสำคัญต่อการตีความชีวิตของเจ้านายเขมรพลัดถิ่นในสยาม.” วารสารอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน. 6, 1 (มกราคม-มิถุนายน): 203-222.
การประชุมวิชาการระดับชาติ
ธีระ นุชเปี่ยม, วินิสสา อุชชิน และดิเรก หงษ์ทอง. 2562. “เครือข่ายชนชั้นนำในกัมพูชา: อำนาจและสิ่งท้าทาย.” การเสวนาวิชาการเรื่อง “ชนชั้นนำ การเมือง และแรงงานในอุษาคเนย์” ณ ห้องประชุมจุมภฏ-พันธุ์ทิพย์ ชั้น 4 อาคารประชาธิปก-รำไพพรรณี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 16 พฤษภาคม 2562. กรุงเทพฯ.
ธีระ นุชเปี่ยม, วินิสสา อุชชิน และดิเรก หงษ์ทอง. 2561. “‘ระบอบฮุน เซน’: โครงสร้างชนชั้นนำในประเทศกัมพูชา.” การเสวนาวิชาการเรื่อง “ชนชั้นนำและแรงงานในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้: องค์ประกอบ โครงสร้าง และพลวัตในยุคเปลี่ยนผ่าน” ณ ห้องประชุมจุมภฏ-พันธุ์ทิพย์ ชั้น 4 อาคารประชาธิปก-รำไพพรรณี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 7 มิถุนายน 2561. กรุงเทพฯ.